ค้นหาสมุนไพร  
     
   
   
   
     
 
   
eherb ผลการค้นหา Radish
Radish
Raphanus sativus L.
 
 
 
 
 
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์
 
  วงศ์ Brassicaceae
 
  ชื่อวิทยาศาสตร์ Raphanus sativus L.
 
  ชื่อไทย หัวผักกาดขาว
 
  ชื่อท้องถิ่น - ผักขี้หูด(คนเมือง) - ไช่เท้า (ทั่วไป); ผักกาดจีน (ลำปาง); ผักกาดหัว (กลาง); ผักขี้หูด, ผักเปิ๊กหัว (เหนือ) [6]
 
  ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ -
 
  ใบ -
 
  ดอก -
 
  ผล -
 
  สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ - ผลอ่อน ใช้ประกอบอาหาร เช่น แกง หรือลวกกินกับ น้ำพริก(คนเมือง)
- ราก น้ำคั้นรากกินเป็นยาบำรุงประสาท, แก้อาการผิดปกติเกี่ยวกับหลอดลมและทรวงอก, อาเจียนเป็นเลือด, รากทำให้สุก, ใช้เป็นยาระบาย, สมานลำไส้, บำรุงม้าม, ขับลม, เรียกน้ำลาย, แก้คัน, บำรุงเลือด, แก้โรคริดสีดวงทวาร และแก้โรคเกี่ยวกับทางเดินปัสสาวะ .
ใบ หรือ ทั้งต้น กินช่วยเจริญอาหาร, แก้ท้องอืดเฟ้อ, อาหารไม่ย่อย, แก้เจ็บคอ, ต่อน้ำนมบวม, น้ำนมคั่ง, ขับปัสสาวะ, เป็นยาระบาย และละลายก้อนนิ่ว .
ใบสด คั้นน้ำทาแก้ผิวหนังเป็นผื่นคัน, มีน้ำเหลือง .
ดอก ใช้เป็นยาขับน้ำดี .
เมล็ด เมล็ดที่คั่วแล้ว, มีรสเผ็ด, ชุ่ม, สุขุม, ใช้เป็นยาระบาย, ช่วยย่อย, แก้ท้องอืดแน่น, บิด, แก้อาการบวม, ระงับอาการหอบ, ขับเสมหะ, ขับปัสสาวะ และละลายก้อนนิ่ว [6]
 
  อ้างอิง เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
[6] ลีนา ผู้พัฒนพงศ์, 2530. สมุนไพรไทยตอนที่ 5 . ฝ่ายพฤกษศาสตร์ป่าไม้ กองบำรุง กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
 
  สภาพนิเวศ -
 
  เอกสารประกอบ “มะรุม” พืชสมุนไพร แต่ไม่ใช่ “ยาวิเศษ” ,
 
ภาพนิ่ง