|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
กล้วยหก, กล้วยแดง
|
กล้วยหก, กล้วยแดง
Musa itinerans Cheeseman |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Musaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Musa itinerans Cheeseman |
|
|
ชื่อไทย |
กล้วยหก, กล้วยแดง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
เส่อกุ้ยกวอ(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
กล้วยหกเป็นพืชล้มลุก ลำต้นสูง 2.5 - 4 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 15 เซนติเมตร กาบต้นด้านนอกสีเขียวอมเหลือง มีประดำเล็กน้อย ด้านในสีเหลืองอ่อน |
|
|
ใบ |
ก้านใบสีเขียวอมเหลือง และมีประเล็กน้อย |
|
|
ดอก |
ก้านดอกมีขน ปลีรูปไข่ ปลายมน ด้านบนสีเหลืองอมม่วงเข้ม ไม่มีนวล ด้านล่างมีสีครีม แต่ละใบเรียงซ้อนกันลึกและเมื่อกาบปลีหลุดมีสันตื้น |
|
|
ผล |
เครือหนึ่งมี 5-7 หวี หวีหนึ่งมี 9-13 ผล ผลป้อมปลายทู่ ก้านผลยาว เกือบเท่าความยาวของผล เนื้อสีเหลืองและมีเมล็ด |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ผล รับประทานได้(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
- ลำต้น(หยวก) ใช้เป็นอาหารเลี้ยงหมู(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|