|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
สาดแหลง, ตองสาด, สาดเฮียะ, สาดขาว, ต๋องจื๋ง
|
สาดแหลง, ตองสาด, สาดเฮียะ, สาดขาว, ต๋องจื๋ง
Phrynium imbricatum Roxb. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Marantaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Phrynium imbricatum Roxb. |
|
|
ชื่อไทย |
สาดแหลง, ตองสาด, สาดเฮียะ, สาดขาว, ต๋องจื๋ง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
หล่อ(ลั้วะ), ใบตอง(ลั้วะ), บล้งเจ่นต่ง(ม้ง), ตองสาด(คนเมือง), ตองจิ๋ง(ไทใหญ่,ขมุ), ตะเห็บแหง่ง(เมี่ยน), ตาเห็บยั้ง(เมี่ยน), สะลอเนิ้ด(ลั้วะ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
- |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ลำต้น ใช้เป็นเชือกมัดของ(ลั้วะ)
- หัวใต้ดิน นำมาฝนให้ได้น้ำ ดื่มน้ำช่วยให้สร่างเมา หรือ นำมาต้มรวมกับรากรางจืด รากส้านเห็บ ดื่มเพื่อใช้ขับพิษ แก้อาการแพ้ต่างๆ(คนเมือง)
- ลำต้น ตากแห้ง แล้วเอาไปสานเสื่อ(คนเมือง)
ลำต้น ผ่าเป็นซีกตากแห้งแล้วนำไปทำเครื่องจักสาน(เมี่ยน)
- ใบ ใช้ห่ออาหารที่ต้องการนำไปหมก(ลั้วะ)
ก้านใบ ฉีกเป็นเส้นๆ ใช้สานเสื่อได้(ลั้วะ)
ใบ ใช้ห่ออาหาร(ลั้วะ,ไทใหญ่)
ใบ ใช้ห่อขนมหรือห่ออาหาร(ม้ง)
ใบ ใช้ห่อขนมช่วยให้ขนมไม่ติดห่อ(เมี่ยน,ขมุ)
ใบ นำมารองไหหมักเมี่ยง หรือใช้ห่อขนม มีประโยชน์ ช่วยดูดซับน้ำ(คนเมือง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|