|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
สนสามใบ
|
สนสามใบ
Pinus kesiya Royle ex Gordon |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Pinaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Pinus kesiya Royle ex Gordon |
|
|
ชื่อไทย |
สนสามใบ |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ทู(ม้ง) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สุง 10-30 เมตร โตวัดรอบ 30-40 เมตร ลำต้นเปลาตรง เรือนยอดที่สมบูรณ์จะเป็นพุ่มกลม เปลือกสีน้ำตาล ล่อนเป็นสะเก็ดตื้นๆ รูปตาข่าย ใบเล็กยาวเรียว รูปเข็ม ออกเป็นกระจุก กระจุกละ 3 ใบ ยาว 10-25 ซม. ดอกออกเป็นช่อ ดอกเพศผู้จะออกเป็นช่อสีเหลืองแบบหางกระรอกบริเวณใกล้ๆ ปลายกิ่ง ช่อหนึ่งๆ ยาว 2-4 ซม. ดอกเพศเมียจะออกเดี่ยวๆ หรืออย่างมากไม่เกิน 3 ดอกตามกิ่ง ผลเป็นโคน ลักษณะเป็นก้อนแข็ง โคนป้อมปลายสอบ ขนาดกว้าง 5-8 ซม. เมื่อแก่จะแยกออกเป็นกลีบแข็ง ตอนโคนกลีบยังคงติดอยู่กับแกนกลางของผล ก้านผลยาวประมาณ 0.5 ซม. เมล็ดรูปรีๆ มีครีบบางๆ |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- เนื้อไม้ ใช้เป็นเชื้อเพลิง จุดไฟ(ม้ง)
|
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
ในประเทศไทยพบขึ้นเป็นกลุ่มๆ บนเขาหรือเนินเขา ที่ความสูงตั้งแต่ 800-1,400 เมตร จากระดับน้ำทะเล ออกดอกเดือนพฤศจิกายน-มกราคม ติดผลเดือนธันวาคม-มีนาคม |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|