ค้นหาสมุนไพร  
     
   
   
   
     
 
   
eherb ผลการค้นหา ������������������, ���������������������������
ประดู่, ประดู่ป่า
Pterocarpus macrocarpus Kurz
 
 
 
 
 
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์
 
  วงศ์ Papilionaceae
 
  ชื่อวิทยาศาสตร์ Pterocarpus macrocarpus Kurz
 
  ชื่อไทย ประดู่, ประดู่ป่า
 
  ชื่อท้องถิ่น ไม้ดู่เดี๋ยง(เมี่ยน), ลำดู่(ลั้วะ), ประดู่ป่า(คนเมือง), เสเส้ง(ม้ง), ไม้ดู่(ไทลื้อ,ขมุ)
 
  ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ ประดู่ หรือประดู่เป็นไม้ยืนต้น สูง 15-25 เมตร
 
  ใบ ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับ ใบย่อยรูปไข่หรือรูปไข่แกมขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6-9 ซม.
 
  ดอก ดอกช่อ ออกที่ซอกใบ รูปดอกถั่ว กลีบดอกสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอม
 
  ผล ผลเป็นฝัก มีปีกแบนๆ หุ้ม
 
  สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ - ราก ต้มน้ำดื่มรักษาโรคบิด(คนเมือง)
เปลือกต้น ต้มน้ำดื่มแก้อาการท้องเสีย (ม้ง)
- เนื้อไม้ ใช้สร้างบ้าน(เมี่ยน,ลั้วะ,ขมุ,ไทลื้อ)
เนื้อไม้ ใช้ทำโครงสร้างต่างๆ ของบ้าน เช่น เสาบ้าน ไม้กระดาน(ม้ง)
- เปลือกต้น ต้มน้ำเดือดใช้ย้อมผ้า ให้สีน้ำตาล(คนเมือง)
เปลือกไม้ ต้มแล้วนำน้ำที่ได้ใช้ย้อมผ้า ให้สีน้ำตาลแดง(เมี่ยน)
 
  อ้างอิง เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
 
  สภาพนิเวศ -
 
  เอกสารประกอบ
 
ภาพนิ่ง