|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ขามคัวะ
|
ขามคัวะ
Pterospermum semisagittatum Buch.-Ham. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Sterculiaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Pterospermum semisagittatum Buch.-Ham. |
|
|
ชื่อไทย |
ขามคัวะ |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ตุ๊ดหงาด(ขมุ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ขามคัวะเป็นไม้ต้นมีพุ่มอยู่ปลายยอด |
|
|
ใบ |
ใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ใบรูปไข่และรูปรี ขนาดใบกว้าง 5-6 ซม. ยาว 10-15 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนมน ขอบจักฟันเลื่อย ผิวใบเรียบ หลังใบสีอ่อน กิ่ง ก้านใบ และผิวใบมีขนนุ่มสีน้ำตาลปกคลุม |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- เปลือกต้น ตากแห้งแล้วใช้เคี้ยวกินกับหมาก(ขมุ)
|
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|