|
วงศ์ |
Apocynaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Rauvolfia serpentina (L.) Benth.ex Kurz |
|
|
ชื่อไทย |
ระย่อม |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
หญ้าหย่อม(คนเมือง) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ต้น เป็นพรรณไม้พุ่ม ขนาดเล็ก ลำต้นจะมีความสูงไม่เกิน 60 ซม. เปลือกจะเป็นสีขาว และมีน้ำยางสีขาว จะผลัดใบในฤดูแล้ง และจะผลิใบใหม่ในฤดูฝน ส่วนดอกนั้นจะออกต้นฤดูหนาว
ใบ จะออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ลักษณะใบจะเป็นรูปรีแกมรูปหอกตรงปลายใบแหลม ใบจะมีความกว้างประมาณ 1.5 – 10 ซม. และมีความยาวประมาณ 5 – 21 ซม.
ดอก จะออกเป็นช่อสีขาว ชมพู หรือสีแดง ลักษณะดอกคล้ายดอกเข็ม ก้านดอกจะเป็นสีแดง มีกลีบรองกลีบดอก 5 กลีบ มีลักษณะเป็นหลอดโค้งเล็กน้อย
ผล ผลอ่อนจะเป็นสีเขียว ส่วนผลสุกจะเป็นสีดำ ผลนั้นจะมีลักษณะเป็นผลแฝดติดกันตรงโดนด้านในและจะอุ้มน้ำ ผลจะมีความยาวประมาณ 1 – 1.8 ซม.[1] |
|
|
ใบ |
ใบ จะออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ลักษณะใบจะเป็นรูปรีแกมรูปหอกตรงปลายใบแหลม ใบจะมีความกว้างประมาณ 1.5 – 10 ซม. และมีความยาวประมาณ 5 – 21 ซม.
|
|
|
ดอก |
ดอก จะออกเป็นช่อสีขาว ชมพู หรือสีแดง ลักษณะดอกคล้ายดอกเข็ม ก้านดอกจะเป็นสีแดง มีกลีบรองกลีบดอก 5 กลีบ มีลักษณะเป็นหลอดโค้งเล็กน้อย
|
|
|
ผล |
ผล ผลอ่อนจะเป็นสีเขียว ส่วนผลสุกจะเป็นสีดำ ผลนั้นจะมีลักษณะเป็นผลแฝดติดกันตรงโดนด้านในและจะอุ้มน้ำ ผลจะมีความยาวประมาณ 1 – 1.8 ซม.[1] |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ราก ตากแห้งแล้วตำผสมแกลบหรือข้าวให้สัตว์กินเป็นยาเบื่อ(คนเมือง)
- ราก เป็นยาลดความดัน reserpine เพราะเป็นตัวที่ออกฤทธิ์มากที่สุด และช่วยระงับอาการปวด เป็นยากล่อมประสาท รักษาอาการไข้ ขับระดู รักษาอาการท้องเดิน โรคบิด ยาต้มจากรากช่วยขับปัสสาวะ เพิ่มการบีบตัวของกระเพาะปัสสาวะ และขับพยาธิ
น้ำจากใบ ใช้เป็นยารักษาโรคแก้วตามัว[1] |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
[1] วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม, 2548. พจนานุกรมสมุนไพรไทย. ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 6. รวมสาส์น (1977) จำกัด. กรุงเทพ ฯ. |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|