|
วงศ์ |
Zingiberaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Alpinia malaccensis (Burm.) Roscoe |
|
|
ชื่อไทย |
ข่าป่า |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
กุ๊ก, ก๊า(คนเมือง), เพาะเก่อย่อ(กะเหรี่ยงเชียงใหม่), หล่อจะแล่ง(ลั้วะ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ข่าป่าเป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดิน ต้นเกิดจากกาบใบอัดกันแน่น สูง 1.5-2 เมตร น |
|
|
ใบ |
ใบเดี่ยวออกเรียงสลับ กว้าง 4-8 ซม. ยาว 10-50 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบเป็นติ่งแหลมสั้น ขอบใบเรียบ ผิวใบเรียบมั |
|
|
ดอก |
ช่อดอกสีขาวทรงกระบอก ออกตั้งตรงที่ปลายยอดคล้ายดอกกล้วยไม้ ช่อดอกยาว 20-30 ซม. ดอกย่อยสีขาว โคนติดกันเป็นหลอดสั้น ปลายแยกเป็น 3 กลีบ กลีบใหญ่ที่สุดมีริ้วสีแดง |
|
|
ผล |
ผลอ่อนสีเขียวมีขนนุ่มปกคลุม เมื่อแก่ให้สีแดงหรือส้ม มีเมล็ดอยู่ภายใน |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ช่อดอกอ่อน ลวกกินกับน้ำพริก, ผลสุก รับประทานได้ มี รสเปรี้ยวหวาน(คนเมือง,ลั้วะ)
ดอก ต้มหรือลวกรับประทานจิ้มน้ำพริก(กะเหรี่ยงเชียงใหม่) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|