|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
Black nightshade
|
Black nightshade
Solanum nigrum L. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Solanaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Solanum nigrum L. |
|
|
ชื่อไทย |
มะแว้งนก |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
- บ่ะดีด(ลั้วะ), สะกอคระ(กะเหรี่ยงเชียงใหม่), ด่อกะริ่ว(ปะหล่อง), แผละแคว้ง(ลั้วะ) - น้ำใจใคร, หญ้าต้มต๊อก [2] |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ไม้ล้มลุกอายุ 1-2 ปี สูง 2-4 ฟุต
ใบ ยาว 2-5 นิ้ว นิ่ม เหี่ยวง่าย
ดอก สีขาวหรือสีม่วงเหมือนดอกมะเขือ กว้าง 0.25-0.5 นิ้ว ผลกลมกว้าง 0.25-0.5 นิ้ว ผิวเรียบ
ผล อ่อนสีเขียวและผลแก่สีดำ เมล็ดขนาดเล็กมากมีสีเหลือง ขึ้นได้ทั่วไป เป็นวัชพืช ในแถบร้อน และอบอุ่น [2] |
|
|
ใบ |
ใบ ยาว 2-5 นิ้ว นิ่ม เหี่ยวง่าย
|
|
|
ดอก |
ดอก สีขาวหรือสีม่วงเหมือนดอกมะเขือ กว้าง 0.25-0.5 นิ้ว |
|
|
ผล |
ผลกลมกว้าง 0.25-0.5 นิ้ว ผิวเรียบ
ผล อ่อนสีเขียวและผลแก่สีดำ เมล็ดขนาดเล็กมากมีสีเหลือง ขึ้นได้ทั่วไป เป็นวัชพืช ในแถบร้อน และอบอุ่น [2] |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ผล รับประทานได้(กะเหรี่ยงเชียงใหม่)
ยอดอ่อน ต้มรับประทานเป็นผักจิ้มน้ำพริก(ปะหล่อง,ลั้วะ)
- ราก ต้มน้ำดื่มแก้ไอ(กะเหรี่ยงเชียงใหม่) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
[2] สมพร ภูติยานันต์, 2546. สมุนไพรใกล้ตัว เล่ม 6 : สมุนไพรที่เป็นพิษ. วิทยาศาสตร์เภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ตุลย์การพิมพ์, เชียงใหม่. |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|