|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ลิ้นง่วง
|
ลิ้นง่วง
Sterculia principis Gagnep (Syn. Sterculia lanceolata Cav. var. principis (Gagnep.) Phengklai) |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Malvaceae (Sterculiaceae) |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Sterculia principis Gagnep (Syn. Sterculia lanceolata Cav. var. principis (Gagnep.) Phengklai) |
|
|
ชื่อไทย |
ลิ้นง่วง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
เหลาหล่าย(ม้ง), ลำพร้อม(ลั้วะ), แจ่ต่อนตบ(เมี่ยน), โชะตาโฮซะ(กะเหรี่ยงเชียงใหม่), มะลิ้นว่าง(ไทลื้อ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
เป็นไม้พุ่ม มีเนื้อไม้ ใบเป็นใบเดี่ยวเรียงแบบสลับเวียนรอบกิ่ง รูปใบหอกกลับ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ฐานใบสอบเรียว เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวใบเกลี้ยงเป็นมันวาว ดอกออกที่ซอกใบ ผลเป็นผลกลุ่ม 1 ดอกมีคาร์เพลประกอบแยกกัน เจริญมาเป็น 4-5 ผล รูปผลคล้ายรูปเรือ ป่องกลาง หัวแหลมท้ายแหลม ผิวด้านนอกมีขนกำมะหยี่หนาแน่น ผลแห้งแล้วแตกได้ |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- เมล็ด รับประทานได้โดยนำไปหมกไฟให้สุกก่อหรือเคี้ยวกินสดก็ได้(เมี่ยน)
เมล็ด นำมาเผาไฟแล้วรับประทานได้(กะเหรี่ยงเชียงใหม่,ไทลื้อ,ลั้วะ)
- เมล็ด นำมาเผาไฟแล้วรับประทานรักษาโรคเหน็บชา(ม้ง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|