|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ข้าวเม่านก, หญ้าคอตุง
|
ข้าวเม่านก, หญ้าคอตุง
Tadehagi triquetrum (L.) Ohashi |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Papilionaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Tadehagi triquetrum (L.) Ohashi |
|
|
ชื่อไทย |
ข้าวเม่านก, หญ้าคอตุง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
หญ้าคอตุง(ไทลื้อ), ตุ๊ดต๊กงล,หญ้าคอตุง(ขมุ), บอกบ่อ,หญ้าใบเลี่ยม(ลั้วะ), หน่อเจ๊าะบิ๊ค่อ(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
สูง 15-50 ซม. กิ่งก้านเป็นสันสามเหลี่ยม |
|
|
ใบ |
รูปไข่หรือรูปใบหอก กว้าง 2-4 ซม. ยาว 8-10 ซม. หลังใบมีขน ท้องใบผิวเรียบ ก้านใบแผ่เป็นปีก |
|
|
ดอก |
ออกเป็นช่อที่ซอกใบหรือปลายกิ่ง ดอกรูปดอกถั่วสีม่วง ออกดอกในราวเดือน พ.ย.-ม.ค. |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ใบและลำต้น ต้มน้ำดื่มเป็นยาฆ่าพยาธิ (ดื่มติดต่อกันทุกวันอย่างน้อยหนึ่งเดือน)(ไทลื้อ)
ราก ต้มน้ำดื่มเป็นยาแก้อาการปวดท้องร่วมกับขี้อ้น มะแฟนข้าว หงอนไก่ และดูลอย(ขมุ)
ราก นำมาต้มน้ำดื่มแก้ปวดหลังปวดเอว(ลั้วะ)
ราก ต้มดื่มน้ำแก้อาการเจ็บท้อง ท้องอืด มีลมในท้อง และแก้อาการปวดเอว(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
ลักษณะ http://www.oocities.org/mednganss/FOVER42.html |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|