|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
Peach cedar
|
Peach cedar
Trema orientalis (L.) Blume |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Cannabaceae (Ulmaceae) |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Trema orientalis (L.) Blume |
|
|
ชื่อไทย |
พังแหรใหญ่, ปอแฟน, ตะคาย |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ด่งมั้ง(ม้ง), ตุ๊ดอึต้า(ขมุ), ปอแต๊บ(ไทลื้อ), ไม้เท้า(ลั้วะ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ไม้ต้น สูง 4-10 เมตร |
|
|
ใบ |
ใบ เดี่ยว รูปไข่แกมรูปใบหอก กว้าง 3-5 ซม. ยาว 7-12 ซม. ขอบใบจักรฟันเลื่อย |
|
|
ดอก |
ดอก สีเขียว ขนาดเล็ก ออกเป็นช่อสั้นๆ ที่ซอกใบ ดอกเพศผู้แลดอกเพศเมียอยู่กิ่งเดียวกันหรือต่างกิ่ง ดอกเพศผู้มีจำนวนมากกว่า 20 ดอก ช่อดอกเพศเมียมีดอกประมาณ 15-20 ดอก กลีบรวม 5 กลีบ มีขน |
|
|
ผล |
ผล เมล็ดเดียว แข็งกลม ขนาด 3-4 มม. เมื่อสุกสีดำ |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- เปลือกต้น ลอกออกนำมาใช้ทำเชือกมัดของ(ลั้วะ)
- เนื้อไม้ ใช้สร้างบ้าน(ม้ง,ขมุ)
- ใบ ใช้เป็นอาหารเลี้ยงปลา(ไทลื้อ)
ผลสุก ใช้เป็นอาหารนก(ม้ง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|