|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
คราม
|
คราม
Indigofera tinctoria L. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Leguminosae (Papilionaceae) |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Indigofera tinctoria L. |
|
|
ชื่อไทย |
คราม |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
- คราม(คนเมือง) - ครามย้อย, คราม (ภาคกลางและภาคเหนือ), คราม (ไทย), คาม (พายัพ-อีสาน) [1] |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ต้น เป็นพรรณไม้พุ่มมีขนาดเล็ก และมีความสูงประมาณ 4-6 ฟุต
ใบ คล้ายใบก้างปลา แต่จะมีขนาดเล็กกว่า
ดอก ดอกจะออกเป็นสีม่วงแกมน้ำตาล หรือจะเป็นสีชมพูและเป็นสีเขียวอ่อนแกม ดอกจะแน่นและออกเป็นช่อยาวประมาณ 10-15 ซม. [1] |
|
|
ใบ |
ใบ คล้ายใบก้างปลา แต่จะมีขนาดเล็กกว่า
|
|
|
ดอก |
ดอก ดอกจะออกเป็นสีม่วงแกมน้ำตาล หรือจะเป็นสีชมพูและเป็นสีเขียวอ่อนแกม ดอกจะแน่นและออกเป็นช่อยาวประมาณ 10-15 ซม. [1] |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ใบ นำไปหมัก ใช้ย้อมผ้า ให้สีน้ำเงิน(คนเมือง)
- ทั้งต้น ใช้ฟอกขับปัสสาวะให้บริสุทธิ์ รักษากษัย น้ำปัสสาวะขุ่นขัน รักษานิ่วได้ดี [1] |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
[1] วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม, 2548. พจนานุกรมสมุนไพรไทย. ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 6. รวมสาส์น (1977) จำกัด. กรุงเทพ ฯ.
[3] สมพร ภูติยานันต์, 2551. สมุนไพรใกล้ตัว เล่ม 13 : สมุนไพรแต่งสี กลิ่น รส. วิทยาศาสตร์เภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ตุลย์การพิมพ์, เชียงใหม่. |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|