|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
Hyacinth bean, Lablab
|
Hyacinth bean, Lablab
Lablab purpureus (L.) Sweet |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Leguminosae (Papilionaceae) |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Lablab purpureus (L.) Sweet |
|
|
ชื่อไทย |
ถั่วแปบ, มะแปบ |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
เซียงหวังตบ(เมี่ยน), กู๊เบเส่, กู๊เบอีโท้,กู๊เบผ่าบุ๊(กะเหรี่ยงแดง), แผละแถะ(ลั้วะ), เบล่เปยี่(ปะหล่อง), เป๊าะบ่าสะ(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), มะแปบ(คนเมือง), โบ่บ๊ะซะ(กะเหรี่ยงเชียงใหม่) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
เป็นไม้เถาเลื้อย มีรากสะสมอาหารอยู่ใต้ดิน เถากลมสีเขียว มีขนสีขาว ใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ ออกเรียงสลับ รูปไข่ โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกเป็นช่อออกตามซอกใบ สีม่วงหรือสีขาว ผลเป็นฝักแบน ผิวเรียบ สีเขียวอ่อนหรือสีม่วง ปลายฝักเป็นจะงอยแหลม เมล็ดรูปไข่กลม สีน้ำตาลอ่อน มี 3-6 เมล็ด |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ฝัก นำไปประกอบอาหารเช่น ใส่แกง หรือลวกจิ้มน้ำพริก(เมี่ยน,กะเหรี่ยงแดง)
ผล นำไปลวกกินจิ้มน้ำพริก(ลั้วะ,กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
เมล็ดและฝักอ่อน ประกอบอาหาร(คนเมือง)
ฝักอ่อน นำไปประกอบอาหาร เช่น แกง, เมล็ด นำไปทอดรับประทาน(ปะหล่อง)
ฝักและเมล็ด ใช้ประกอบอาหาร เช่น ผัด ต้ม หรือลวกกิน กับน้ำพริก(กะเหรี่ยงเชียงใหม่)
- ใบ ตำพอกรักษาโรคคางทูม(กะเหรี่ยงแดง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
เกรียงไกรและคณะ. 2551. พืชอาหารและสมุนไพรท้องถิ่นบนพื้นที่สูง ชุดที่ 1 บ้านปางมะโอ. สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน). 190 หน้า |
|
|
สภาพนิเวศ |
ขึ้นได้ดีในดินร่วน ระบายน้ำดี มีแสงแดดจัด |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|