|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
Bottle gourd
|
Bottle gourd
Lagenaria siceraria (Molina) Standl. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Cucurbitaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Lagenaria siceraria (Molina) Standl. |
|
|
ชื่อไทย |
น้ำเต้า |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
- ลุ้นออก,แผละลุนอ้อก(ลั้วะ) - คิลูส่า (กะเหรี่ยง – แม่ฮ่องสอน); มะน้ำเต้า (เหนือ) [6] |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ไม้เถา, มีกลิ่นอย่างชะมด,ลำต้นแข็งแรง, เป็นร่อง, มีขน, ที่ปลายขนมีต่อม; มือเกาะมักแยกเป็น 2 แขนง.
ใบ เดี่ยว, เรียงสลับกัน, ก้านใบยาว 5 – 30 ซม., มีต่อมเทียม 2 ต่อม, อยู่ตรงรอยต่อระหว่างก้านใบกับแผ่นใบ; แผ่นใบรูปไข่กว้าง, มีขนาดกว้างและยาว 10 – 30 ซม.; โคนใบรูปหัวใจกว้าง ๆ, ขอบใบหยักแบบซี่ฟัน, ไม่มีแฉก หรือบางทีมี 3 – 7 แฉก หรือขอบใจเป็นคลื่น, ปลายใบมน, มีติ่งแหลม; ด้านใต้ใบมีขนนุ่มสีขาว.
ดอก ออกเดี่ยว ๆ, ตามง่ามใบ, มีอายุสั้นมาก; ดอกเพศเมียและดอกเพศผู้อยู่บนต้นเดียวกัน. ดอกเพศผู้ ก้านดอกยาว 5 – 25 ซม.; กลีบรองกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง, ปลายแยกเป็นแฉกแหลม ๆ 5 แฉก, ยาว 1 – 1.5 ซม.; กลีบดอก 5 กลีบ, ไม่ติดกัน, รูปไข่กลับ, กว้าง 2 – 4 ซม., ยาว 2.5 – 5 ซม., สีขาว, มีขน; เกสรรู้ 3 อัน, ก้านเกสรไม่ติดกัน, อับเรณูสีขาว, อยู่ชิดกัน. ดอกเพศเมีย ก้านดอกสั้น และแข็งแรง, ยาว 2 – 5 ซม., ก้านจะยาวขึ้น, เมื่อรังไข่เจริญเติบโตไปเป็นผล, ไม่มีเกสรผู้เทียม, รังไข่ยาว 2.5 – 3 ซม., มีขนสีขาว, ท่อรับไข่สั้น, ปลายแยกเป็นแฉกหนา ๆ 3 แฉก.
ผล มีรูปร่างและขนาดต่าง ๆ กันตามพันธุ์, เช่น กลม, แบน, รูปขวด หรือรูปกระบอง, ยาว 10 – 100 ซม., โคนขั้วคอดคดงอหรือขดเป็นวง, เปลือกแข็งและทนทาน. เมล็ด จำนวนมาก, แบน, มีสันยาวถึง 2 ซม., สีขาวหรือน้ำตาลอ่อน. [6] |
|
|
ใบ |
ใบ เดี่ยว, เรียงสลับกัน, ก้านใบยาว 5 – 30 ซม., มีต่อมเทียม 2 ต่อม, อยู่ตรงรอยต่อระหว่างก้านใบกับแผ่นใบ; แผ่นใบรูปไข่กว้าง, มีขนาดกว้างและยาว 10 – 30 ซม.; โคนใบรูปหัวใจกว้าง ๆ, ขอบใบหยักแบบซี่ฟัน, ไม่มีแฉก หรือบางทีมี 3 – 7 แฉก หรือขอบใจเป็นคลื่น, ปลายใบมน, มีติ่งแหลม; ด้านใต้ใบมีขนนุ่มสีขาว.
|
|
|
ดอก |
ดอก ออกเดี่ยว ๆ, ตามง่ามใบ, มีอายุสั้นมาก; ดอกเพศเมียและดอกเพศผู้อยู่บนต้นเดียวกัน. ดอกเพศผู้ ก้านดอกยาว 5 – 25 ซม.; กลีบรองกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง, ปลายแยกเป็นแฉกแหลม ๆ 5 แฉก, ยาว 1 – 1.5 ซม.; กลีบดอก 5 กลีบ, ไม่ติดกัน, รูปไข่กลับ, กว้าง 2 – 4 ซม., ยาว 2.5 – 5 ซม., สีขาว, มีขน; เกสรรู้ 3 อัน, ก้านเกสรไม่ติดกัน, อับเรณูสีขาว, อยู่ชิดกัน. ดอกเพศเมีย ก้านดอกสั้น และแข็งแรง, ยาว 2 – 5 ซม., ก้านจะยาวขึ้น, เมื่อรังไข่เจริญเติบโตไปเป็นผล, ไม่มีเกสรผู้เทียม, รังไข่ยาว 2.5 – 3 ซม., มีขนสีขาว, ท่อรับไข่สั้น, ปลายแยกเป็นแฉกหนา ๆ 3 แฉก.
|
|
|
ผล |
ผล มีรูปร่างและขนาดต่าง ๆ กันตามพันธุ์, เช่น กลม, แบน, รูปขวด หรือรูปกระบอง, ยาว 10 – 100 ซม., โคนขั้วคอดคดงอหรือขดเป็นวง, เปลือกแข็งและทนทาน. เมล็ด จำนวนมาก, แบน, มีสันยาวถึง 2 ซม., สีขาวหรือน้ำตาลอ่อน. [6] |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ผลแห้ง ใช้ทำภาชนะ เช่น กระบวยตักน้ำ(ลั้วะ)
- ราก น้ำต้มราก, กินแก้อาการบวมน้ำตามร่างกาย
ใบ ใบอ่อนกินได้, เป็นยาระบาย
น้ำต้มใบกับน้ำตาล, กินแก้โรคดีซ่าน
ผล กินได้, มีวิตามิน และแร่ธาตุหลายชนิด, เป็นยาเย็น, ระบาย และขับปัสสาวะ , ขับนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ, กินมาก ๆ ทำให้อาเจียนได้ ; โคนขั้วผล, กินแก้ปวดท้องที่เกิดจากไข้, น้ำต้มผลใช้สระผมได้
ส่วนเปลือกผล, ใช้สุมหัวทารกเพื่อลดไข้
เมล็ด กินเป็นยาขับพยาธิและแก้อาการบวมน้ำ
น้ำมันเมล็ดใช้ทาศีรษะ, แก้อาการผิดปกติทางประสาทบางประเภท และกินทำให้อาเจียน [6] |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
[6] ลีนา ผู้พัฒนพงศ์, 2530. สมุนไพรไทยตอนที่ 5 . ฝ่ายพฤกษศาสตร์ป่าไม้ กองบำรุง กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ. |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|