|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ตำแยตัวเมีย, ว่านช้างร้อง
|
ตำแยตัวเมีย, ว่านช้างร้อง
Laportea interrupta (L.) Chew |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Urticaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Laportea interrupta (L.) Chew |
|
|
ชื่อไทย |
ตำแยตัวเมีย, ว่านช้างร้อง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
งาง(ลั้วะ), เส่เลเหมาะ(กะเหรี่ยงแดง), ชิง้าง(ลั้วะ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. ลำต้นตั้งตรง ลำต้น |
|
|
ใบ |
ใบ และดอกมีขนพิษหนาแน่น ใบ เดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่ ขอบใบเว้าเป็น 3 หรือ 5 พู กว้าง 7-12 ซม. ยาว 10-15 ซม. ขอบใบหยัก ฟันเลื่อย |
|
|
ดอก |
ดอก ช่อออกที่ปลายกิ่งห้อยลง ดอกย่อยจำนวนมาก สีเขียว แยกเพศอยู่บนต้นเดียวกัน |
|
|
ผล |
ผล แห้ง ขนาดเล็ก ไม่แตก |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ทั้งต้น หากสัมผัสโดนจะมีอาการคัน(ลั้วะ,กะเหรี่ยงแดง)
ใบ เป็นพิษก่อให้เกิดอาการระคายเคืองผิวหนังทำให้รู้สึกคันมาก(ลั้วะ) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
ลักษณะ http://www.qsbg.org/Database/plantdb/mdp/mdpdetails.asp?id=540 |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|