|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
Myrtle grass
|
Myrtle grass
Acorus calamus L. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Araceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Acorus calamus L. |
|
|
ชื่อไทย |
คาเจี้ยงจี้, ว่านน้ำ , ว่านน้ำเล็ก |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ช่านโฟ้ว(เมี่ยน), แป๊ะอะ(ม้ง), สำบู่(ปะหล่อง), เหล่อโบ่สะ(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), จะเคออ้ม, ตะไคร้น้ำ(ขมุ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
- |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ผลอ่อน รับประทานกับ ลาบ(เมี่ยน)
- ทั้งต้น ต้มน้ำดื่มผสมกับชั้วจ้างหม่อ (หญ้าปันยอด) และลำต้น ชื้อเจาะ (หญ้างวงช้าง) แก้ปวดท้องที่เกิดจากอาหาร เป็นพิษ(ม้ง)
ใบ ต้มน้ำให้สตรีหลังคลอดที่อยู่ไฟอาบ(เมี่ยน)
รากและหัว จิ้มเกลือรับประทานสดๆ รักษาอาการปวดท้อง หรือซอยบางๆ ตากแดด บดเป็นผง ใช้ร่วมกับปูเลย กินแล้วดื่มน้ำตาม แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และอาการปวดท้องจากอาหารเป็นพิษ(ปะหล่อง)
ช่อดอกและยอดอ่อน รับประทานสดช่วยรักษาอาการหวัด(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
ทั้งต้น ต้มน้ำดื่มแก้อาการปวดเมื่อย(ขมุ)
- ราก เป่าคาถาแล้วนำไปถูกตัวคนที่โดนผีเข้า เพื่อไล่ผี เป็นยาประจำบ้านที่นิยมใช้กันทั่วไป(ปะหล่อง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|