|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
เดื่อหว้า, มะเดื่อหว้า
|
เดื่อหว้า, มะเดื่อหว้า
Ficus auriculata Lour. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Moraceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Ficus auriculata Lour. |
|
|
ชื่อไทย |
เดื่อหว้า, มะเดื่อหว้า |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
มะเดื่อหว้า(คนเมือง), เต๊อะกือสะพะโดะ(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), บะครูน(ลั้วะ), มะเดื่อ(ลั้วะ), เดื่อหว้า(ไทลื้อ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ไม้ต้นขนาดเล็ก น้ำยางสีขาว ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูปไข่กว้าง ดอกช่อ แยกเพศอยู่ในช่อเดียวกัน ออกที่ลำต้น ผลรูปกรวยคว่ำ ขนาดใหญ่ เมื่อสุกสีม่วงแดงหรือม่วงดำ |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ผลดิบ ปอกเปลือกออก ควักเนื้อข้างในทิ้ง แล้วหั่นเป็นชิ้น ใช้ประกอบอาหาร เช่น แกง, ผลสุก รับประทานได้ มีรสหวาน(คนเมือง)
ยอดอ่อนและผลดิบ ลวกกินกับน้ำพริก, ผลสุก รับประทานสดได้ มีรสหวานและฝาด(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
ผลสุก รับประทานได้, ใบอ่อน ลวกเป็นผักจิ้มน้ำพริก(ลั้วะ)
ผลสุก กินได้มีรสหวาน(ลั้วะ)
ผลดิบ ใช้รับประทานกับแกงบอนหรือหลามบอน(ไทลื้อ) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?Botanic_ID=2434 |
|
|
สภาพนิเวศ |
เจริญเติบโตได้ดีในดินทุกชนิด ในป่าโปร่ง ป่าดิบเขา พื้นราบ หรือบริเวณที่ว่างเปล่าทั่วไป ชอบดินร่วน อุดมสมบูรณ์ ระบายน้ำดี |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|