|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ผักชีฝรั่ง
|
ผักชีฝรั่ง
Eryngium foetidum L. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Apiaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Eryngium foetidum L. |
|
|
ชื่อไทย |
ผักชีฝรั่ง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ฮือโปก่อหล่า(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), ฮือปุ๊กอลา(กะเหรี่ยงเชียงใหม่), บล้งนาเก่อ(ม้ง), เยี่ยนซี่โยว(เมี่ยน), หอมหน้อย(ลั้วะ), ผักป้อมเป้อ(ไทลื้อ), ผักชีลาว(คนเมือง) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
พืชล้มลุก สูงได้ถึง 20 ซม. |
|
|
ใบ |
ใบเดี่ยว เรียงแบบกระจุกรอบพื้น แผ่นใบรูปใบหอกกลับ ปลายใบมน ขอบใบหยักซี่ฟัน ฐานใบแผ่แบน |
|
|
ดอก |
ดอกเป็นดอกช่อแบบกระจุกแน่น เกิดอยู่บนก้านดอกเดี่ยวยาว (scape) ใบประดับช่อดอก คล้ายใบขนาดเล็กเรียงซ้อนกัน 5-8 ใบ กลีบเลี้ยงสีเขียว กลีบดอกสีขาว เกสรเพศผู้ยาวเหนือกลีบดอกขึ้นมา |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ใบ หั่นเป็นชิ้นเล็กๆโรยใส่แกงหรือยำ เพื่อช่วยให้มีกลิ่น หอม(กะเหรี่ยงเชียงใหม่,กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
ใบ ใช้ประกอบอาหาร เช่น ใส่แกง ยำ(คนเมือง)
ใบ ใช้ใส่ลาบให้มีกลิ่นหอม(ม้ง)
ใบ หั่นใส่ส้มตำเพื่อเพิ่มกลิ่นหอม(เมี่ยน)
ใบ ใช้เป็นส่วนประกอบในอาหาร ช่วยให้มีกลิ่นหอม(ไทลื้อ)
ใบ รับประทานสดกับลาบ หรือเป็นส่วนประกอบของอาหารประเภทต่างๆ เช่น แกง ยำ มีกลิ่นหอม(คนเมือง)
ใบ รับประทานสดกับลาบ หรือนำไปแกง(ลั้วะ)
ใบ ใส่ในแกง ต้มยำ หรือกินสดกับลาบ(ลั้วะ) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|