|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ลำพูป่า, ตุ้มเต๋น
|
ลำพูป่า, ตุ้มเต๋น
Duabanga grandiflora (Roxb. ex DC.) Walp. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Lythraceae (Sonneratiaceae) |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Duabanga grandiflora (Roxb. ex DC.) Walp. |
|
|
ชื่อไทย |
ลำพูป่า, ตุ้มเต๋น |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
เตื้อเร่อะ(ขมุ), ไม้เต๋น(ไทลื้อ), ซิกุ๊(กะเหรี่ยงเชียงใหม่), ลำคุบ,ไม้เต้น(ลั้วะ), ซือลาง(ม้ง), ซ่อกวาเหมาะ(กะเหรี่ยงแดง), เส่ทีดึ๊(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ไม้ต้น ไม่ผลัดใบ สูง 15-35 เมตร |
|
|
ใบ |
ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 4-10 ซม. |
|
|
ดอก |
ดอก สีขาวมีกลิ่นฉุน บานตอนกลางคืนถึงตอนเช้า หุบตอนกลางวัน ขนาด 4-7 ซม. กลีบเลี้ยงเป็นรูปถ้วย กว้าง 1.5-3 ซม. ปลายแยกเป็น 6-7 แฉก กว้าง 0.7-1.4 ซม. ยาว 1.2-3 ซม. แผ่ออก กลีบดอก 6-7 กลีบ รูปไข่ กว้าง 25.7-3.4 ซม. ยาว3-4 ซม. สีเขียวและจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเมื่อแก่ กลีบเลี้ยงติดคงทน |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ดอก มีน้ำหวาน รับประทานได้, กลีบเลี้ยงหรือผล รับประทานสดกับน้ำพริก(ลั้วะ)
ผลอ่อน นำไปเผาไฟรับประทานจิ้มกับน้ำพริก(กะเหรี่ยงแดง)
- เปลือกต้น ต้มน้ำดื่มแก้อาการปวดท้องที่ไม่รู้สาเหตุ (คนที่จะไปเก็บมาใช้ ต้องเป็นคนเฒ่าคนแก่ที่มีคาถาอาคมติดตัว)(กะเหรี่ยงเชียงใหม่)
กิ่งและต้น สับเป็นชิ้นเล็กๆ ต้มน้ำกินแก้อาการช้ำใน(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
- เนื้อไม้ ใช้สร้างบ้าน(ขมุ,ไทลื้อ,ลั้วะ)
เนื้อไม้ ใช้ทำฝาหรือพื้นบ้าน(ม้ง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|