|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
หมากผู้ป่า
|
หมากผู้ป่า
Dracaena tenuiflora Roxb. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Dracaenaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Dracaena tenuiflora Roxb. |
|
|
ชื่อไทย |
หมากผู้ป่า |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
เต๋าดู่กู่(ม้ง), ฮ่าเดียด้อย(เมี่ยน) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
- |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ราก รับประทานสดรักษาโรควัณโรคหรืออาการตัวเหลือง หน้าซีด (โรคดีซ่าน) หรืออาจนำไปต้มน้ำรวมกับใบโก้นหลัวะ (ใบต่างเหรียญ) ดื่มเป็นยารักษาโรคดีซ่าน(ม้ง)
หัวใต้ดิน รับประทานได้มีรสหวาน เป็นยาแก้ไอ ช่วยให้ชุ่มคอ(เมี่ยน) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|