|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
กล้วยฤาษี, พลับป่า
|
กล้วยฤาษี, พลับป่า
Diospyros glandulosa Lace |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Ebenaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Diospyros glandulosa Lace |
|
|
ชื่อไทย |
กล้วยฤาษี, พลับป่า |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
สะเรียม(ขมุ), ลำญืม(ลั้วะ), เล่โค่หม่อ(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), บะก้วยฤาษีป่า (ไม้ตับเต่า)(ไทใหญ่), กล้วยฤาษี(คนเมือง), ลำซิญิ้ม(ลั้วะ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
บ่ากล้วยฤาษีเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง |
|
|
ใบ |
ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปรีหรือรูปขอบขนาน โคนใบและปลายใบแหลม แผ่นใบมีขนสาก |
|
|
ดอก |
ดอกแยกเพศอยู่ต่างต้น |
|
|
ผล |
ผลมีเนื้อหลายเมล็ด ทรงกลมแป้น มีขนคล้ายใยไหมปกคลุม เมื่อสุกสีเหลืองคล้ายลูกพลับ รสฝาด |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ผลสุก รับประทานได้(ไทใหญ่,กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน,คนเมือง,ลั้วะ)
ดอกอ่อน นึ่งหรือต้มกินกับน้ำพริก(ขมุ)
- ลำต้น ใช้ทำสากครกตำข้าว(ลั้วะ)
เนื้อไม้ ใช้ทำโครงสร้างต่างๆ ของบ้าน เช่น ไม้กระดานทำ ฝาบ้าน(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)
- ลำต้น ใช้เป็นต้นตอเสียบกิ่งพลับ(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
เกรียงไกรและคณะ. 2551. พืชอาหารและสมุนไพรท้องถิ่นบนพื้นที่สูง ชุดที่ 1 บ้านปางมะโอ. สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน). 190 หน้า |
|
|
สภาพนิเวศ |
พบกระจายตามป่าดิบเขาทางภาคเหนือที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล 750-1,500 เมตร |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|