|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ตำแยช้าง, หานช้างร้อง
|
ตำแยช้าง, หานช้างร้อง
Dendrocnide stimulans (L.f.) Chew |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Urticaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Dendrocnide stimulans (L.f.) Chew |
|
|
ชื่อไทย |
ตำแยช้าง, หานช้างร้อง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ช้างร้อง(ลั้วะ), หานช้างร้อง(คนเมือง) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
- พืชสมุนไพรที่มีหนาม [2]
|
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- เปลือกต้น กิ่ง และราก เอาไปต้มอาบแก้อาการคันจากยางรัก(คนเมือง)
ทั้งต้น ต้มน้ำดื่ม รักษาอาการโรคเอดส์(กะเหรี่ยง)
- ทั้งต้น หากสัมผัสโดนจะมีอาการคัน(ลั้วะ,คนเมือง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
[2] สมพร ภูติยานันต์, 2546. สมุนไพรใกล้ตัว เล่ม 6 : สมุนไพรที่เป็นพิษ. วิทยาศาสตร์เภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ตุลย์การพิมพ์, เชียงใหม่. |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|