|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ซาง, ไผ่ซาง
|
ซาง, ไผ่ซาง
Dendrocalamus strictus (Roxb.) Nees |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Poaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Dendrocalamus strictus (Roxb.) Nees |
|
|
ชื่อไทย |
ซาง, ไผ่ซาง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ไม้ซาง(คนเมือง), ครั่งเปร้า(ปะหล่อง), ลำซาง(ลั้วะ), เพ้าเบี่ยง(เมี่ยน) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
เป็นไม้ไผ่หน่ออัดใบ ลำต้นมีสีเขียวอ่อน ไม่มีหนาม ผิวเป็นมัน มีกิ่งเเขนงมาก สูงประมาณ 6-20 ซม. มีเนื้อประมาณ 5-8 มม. ปล้องยายประมาณ 15-50 ซม.เนื้อไม้หยาบ โดยทั่วไปลำต้นมีไม้ผ่าศูนย์กลางประมาณ 5-12.5 ซม. ถ้าพบบริเวณเนินเขาสูงลำต้นจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2,5-10 ซม. ข้างนอกกาบจะมีขนเเข็งสีน้ำตาลเหลือง ในพื้นที่เเห้งเเล้งอาจจะไม่มีขนขณะที่ยังอ่อน กาบหุ้มลำมีสีเขียวอมเหลือง ครีบกาบเล็กหรือไม่มีกระจังกาบเเคบ หยัก |
|
|
ใบ |
ยอดกาบตรงเป็นรูปสามเหลี่ียมเเคบๆใบปลายใบเรียวเเหลม โคนใบเป็นมุมป้าน ขนาดใบยาว 12-30 ซม. กว้าง1-2ซม. ลักษณะใบมีขนอ่อนเเน่นเส้นลายใบมี2-6 เส้น เล้นลายใบย่อยมี 5-7เส้น |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- หน่ออ่อน ประกอบอาหารเช่น แกงหน่อไม้(เมี่ยน,ปะหล่อง)
- เนื้อไม้ ใช้เป็นโครงสร้างต่างๆ ของบ้าน เช่น ฟาก ฝาบ้าน(ลั้วะ)
เนื้อไม้ นำไปจักสานและใช้เป็นโครงสร้างต่างๆ ของบ้าน เช่น ฟาก ฝาบ้าน(ปะหล่อง)
- ปล้อง นำมาผ่าครึ่งซีกแล้วใช้ทำเป็นรางน้ำให้ไก่กิน(คนเมือง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|