|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ไผ่ตง
|
ไผ่ตง
Dendrocalamus asper (Roem. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Poaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Dendrocalamus asper (Roem. |
|
|
ชื่อไทย |
ไผ่ตง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ช้ง(ม้ง) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ลำต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6-15 เซนติเมตร ไม่มีหนาม ปล้องยาวประมาณ 20-30 เซนติเมตร มีสีเขียวเป็นมัน ใบมีขนาดแตกต่างกันไปตามพันธุ์และสภาพแวดล้อม มีสีเขียวเข้มจนถึงสีเขียวออกขาว มีกาบใบหุ้มที่ข้อขณะยังอ่อนอยู่ หน่อไผ่ตงจะมีกาบหุ้มซึ่งจะมีขนสีน้ำตาล พันธุ์ไผ่ตงที่กรมส่งเสริมการเกษตรแนะนำคือ 1) ไผ่ตงดำหรือไผ่ตงหวาน ไผ่ตงพันธุ์นี้มีลำต้นสีเขียวเข้มอมดำ ใบมีสีเขียวเข้ม หนาใหญ่ และมองเห็นร่องใบได้ชัดเจน หน่อมีขนาดปานกลางน้ำหนักโดยเฉลี่ย 3-6 กิโลกรัม หน่อไม้ไผ่ตงดำมีรสหวานกรอบ เนื้อเป็นสีขาวละเอียดและไม่มีเสี้ยน 2) ไผ่ตงเขียว มีขนาดของลำต้นเล็กและสั้นกว่าไผ่ตงดำ สีของลำต้นจะเป็นสีเขียว เนื้อไม้บาง ไม่ค่อยแข็งแรง ถ้ามีลมแรง ๆ ทำให้หักพับลงมาได้ง่าย ใบมีขนาดปานกลาง บางและมีสีเขียวเข้ม จับแล้วไม่สากมือ หน่อมีน้ำหนัก 1-4 กิโลกรัม หน่อไม้ไผ่ตงเขียวมีรสชาติหวานอมขื่นเล็กน้อย เนื้อเป็นสีขาวอมเหลือง ไผ่ตงเขียวมีความคงทนต่อสภาพแห้งแล้งได้ดี |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- หน่ออ่อน ประกอบอาหารเช่น แกงหน่อไม้(ม้ง)
- ลำต้น ตีให้เป็นแผ่นใช้เป็นพื้นและฝาบ้าน(ม้ง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|