|
วงศ์ |
Rhamnaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Colubrina longipes Backer |
|
|
ชื่อไทย |
ก้านถึง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ผักก้านถง(ไทลื้อ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ลำต้น: ไม้พุ่ม สูง 1.5-2 เมตร |
|
|
ใบ |
ใบ เป็นใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่ ปลายเรียวแหลม โคนมนหรือตัด ขอบจักฟันเลื่อย |
|
|
ดอก |
ดอกออกช่อดอกสั้น ออกตามง่ามใบ มีทั้งดอกสมบูรณ์เพศและดอกเพศผู้ ดอกเล็ก กลีบเลี้ยงโคนติดกันเป็นรูปถ้วย ปลายแยกเป็นกลีบรูปสามเหลี่ยม 5 กลีบ กลีบดอกสีเขียว มี 5 กลีบ แยกจากกันและเรียงสลับกับกลีบเลี้ยง กลีบโค้งคล้ายท้องเรือ เกสรเพศผู้มี 5 อัน อยู่ในส่วนโค้งของกลีบดอก ยอดเกสรเพศเมียมี 3 แฉก |
|
|
ผล |
ผลกลมเล็ก มีเนื้อ เส้นผ่านศูนย์กลาง 7-8 มิลลิเมตร มี 1 เมล็ด |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ยอดอ่อน นำไปประกอบอาหารเช่น แกงใส่(ไทลื้อ)หน่อไม้ (ไทลื้อ)
|
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
ลักษณะ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน)
http://www.thaibiodiversity.org/Life/LifeDetail.aspx?LifeID=38814 |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|