|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
พญาปล้องทอง, เสลดพังพอนตัว เมีย
|
พญาปล้องทอง, เสลดพังพอนตัว เมีย
Clinacanthus nutans (Burm.f.) Lindau |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Acanthaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Clinacanthus nutans (Burm.f.) Lindau |
|
|
ชื่อไทย |
พญาปล้องทอง, เสลดพังพอนตัว เมีย |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
พญายอ(คนเมือง) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
พญาปล้องทองเป็นไม้พุ่มรอเลื้อยสูง 1-3 เมตร ช่อดอก |
|
|
ใบ |
ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปใบหอก ขนาดใบกว้าง 1-3 ซม. ยาว 4-12 ซม. สีเขียวเข้ม |
|
|
ดอก |
ออกเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีแดงส้ม โคนกลีบสีเขียวติดกันเป็นหลอดยาว ปลายแยกเป็น 2 ปาก ไม่ค่อยออกดอก |
|
|
ผล |
ผลเป็นผลแห้ง แตกได้ |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ยอดอ่อน ใช่ประกอบอาหาร เช่น ใส่แกงแค(คนเมือง)
- ลำต้น ฝนแล้วใช้ทาแผลสดช่วยให้แผลหายเร็ว, รากและ เปลือกต้น ต้มน้ำดื่มเป็นยาบำรุงกำลัง แก้พิษ, ใบ ตากแห้งแล้วตำผสมแมงป่องปิ้งใช้เป็นยาแก้พิษงู(คนเมือง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
ชอบดินร่วน ระบายน้ำดี แสงแดดจัด |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|