|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
Papaya
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Caricaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Carica papaya L. |
|
|
ชื่อไทย |
มะละกอ |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
เบล่ส่างเพร่า(ปะหล่อง), เพี๊ยะสะเป่านั้งเอ่า (ลั้วะ), เหม่ากั้วะ(ม้ง), เส่อกุ้ยเส่(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), มะละกอ(คนเมือง), โก่จิ๊ซะ(กะเหรี่ยงเชียงใหม่) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
มะก้วยเต้ดเป็นไม้ยืนต้นสูง 3-6 เมตร ไม่มีแก่นต้นอวบน้ำ มียางขาว |
|
|
ใบ |
ใบเดี่ยว เรียงสลับ รอบต้นบริเวณยอดรูปฝ่ามือเว้าเป็นแฉกลึก 7 แฉก ขนาดใหญ่ |
|
|
ดอก |
ดอกมีหลายประเภท คือดอกตัว ผู้ ดอกตัวเมีย และดอกสมบูรณ์เพศ ดอกตัวผู้ออกเป็นช่อ ดอกตัวเมียและดอกสมบูรณ์เพศเป็น ดอกเดี่ยวหรือช่อ 2-3 ดอก สีนวล |
|
|
ผล |
ผลเป็นผลสด รูปยาวรี ทรงกระบอก หรือกลม เมล็ดสีดำ |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ผลสุก รับประทานเป็นผลไม้, ผลดิบ ใช้ทำส้มตำหรือทำแกงส้ม(ม้ง)
ผล รับประทานได้(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน,กะเหรี่ยงเชียงใหม่,คนเมือง,ปะหล่อง)
- ใบ ใช้เป็นส่วนประกอบในยารักษาโรคนิ่ว ร่วมกับ ต้นเอื้องหมายนาและพืชอีกหลายชนิด(ลั้วะ) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
[3] สมพร ภูติยานันต์, 2551. สมุนไพรใกล้ตัว เล่ม 13 : สมุนไพรแต่งสี กลิ่น รส. วิทยาศาสตร์เภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ตุลย์การพิมพ์, เชียงใหม่. |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|