|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
มะเกิ้ม, มะกอกเกลื้อน
|
มะเกิ้ม, มะกอกเกลื้อน
Canarium subulatum Guillaumin |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Burseraceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Canarium subulatum Guillaumin |
|
|
ชื่อไทย |
มะเกิ้ม, มะกอกเกลื้อน |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
เพะมาง, เกิ้มดง(ขมุ), มะกอกกั๋น(คนเมือง), มะเกิ้ม(ไทลื้อ), สะบาง, ไม้เกิ้ม(ขมุ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 25-30 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกสีน้ำตาล แตกเป็นสะเก็ด ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ เรียงเวียนสลับ ใบย่อยออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปไข่ถึงรูปรี ปลายเรียวแหลม โคนเบี้ยว รูปหัวใจหรือมน ขอบจักเป็นฟันเลื่อยตื้นๆ ถึงเกือบเรียบ ผิวเกลี้ยงทั้งสองด้าน ปลายเส้นแขนงใบย่อยโค้งจรดกันเกือบถึงขอบใบ ดอก เล็กสีขาว แยกเพศ ออกเป็นช่อแตกแขนงสั้นๆ ตามง่ามใบ ผล รูปรี ผิวเกลี้ยง เมื่อสุกสีดำปนน้ำเงิน มี 1 เมล็ด |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ผลดิบและสุก รับประทานได้(ไทลื้อ,ขมุ)
ผลแก่ รับประทานได้มีรสเปรี้ยว(คนเมือง)
- เนื้อไม้ ใช้ทำโครงสร้างต่างๆ ของบ้าน เช่น ประตู หน้าต่าง(คนเมือง)
เนื้อไม้ สร้างบ้าน(ขมุ) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|