|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
หวายไส้ไก่
|
หวายไส้ไก่
Calamus palustris var. palustris (Syn. Calamus kerrianus Becc.) |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Arecaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Calamus palustris var. palustris (Syn. Calamus kerrianus Becc.) |
|
|
ชื่อไทย |
หวายไส้ไก่ |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
หวายไส้ไก่(คนเมือง), กะเท้งอ้ะ(ม้ง) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
เป็นหวายไม้เลื้อยขนาดเล็ก สูงได้ถึง 4 เมตร ลำต้น ขึ้นเดี่ยว ไม่แตกกอ โคนต้นที่ติดดิน เมื่อลอกกาบออกมีเนื้อสีขาวอ่อน แกนใบเล็กออกจากบริเวณโคนต้น เลื้อยยืดยาวและปลายเป็นมือเกาะ มีหนามเดี่ยวแหลมค่อนข้างยาวเรียงสลับห่าง ๆ ใบ ออกจากแกนใบ เป็นคู่ แต่ละคู่เรียงสลับขนาดใบในแต่ละคู่จะมีขนาดไล่เลี่ยกันหรือต่างกัน แผ่นใบกว้างได้ถึง 5.0 ซม. ยาวได้ถึง 50 ซม. รูปคล้ายดาบ เส้นใบนูนเด่นเห็นได้ชัด |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- หน่ออ่อน ประกอบอาหารเช่น แกง(ม้ง)
ยอดอ่อน ใช้ประกอบอาหาร เช่น แกง, ผลสุก รับประทานได้ มีรสเปรี้ยว(คนเมือง)
- ลำต้น ใช้ทำเครื่องจักสาน(คนเมือง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|