|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
Angola pea, Congo pea
|
Angola pea, Congo pea
Cajanus cajan(L.) Millsp. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Leguminosae (Papilionaceae) |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Cajanus cajan(L.) Millsp. |
|
|
ชื่อไทย |
ถั่วแระ, ถั่วมะแฮะ |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ย่วนตูแฮะ(ปะหล่อง), เปล๊ะกะแลง(ขมุ), มะแฮะ(ไทลื้อ), พะหน่อเซะ, พะหน่อซิ(กะเหรี่ยงเชียงใหม่) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ลำต้น: เป็นไม้พุ่มขนาดย่อม สูงได้ถึง 10 ฟุต
ใบ: เป็นแบบใบประกอบ 3 ใบ ใบย่อยรูปหอก ขนาดเล็ก คล้ายใบขมิ้น มีขนสียาวนวล
ดอก: ดอกช่อ คล้ายดอกโสน สีเหลือง
ผล: กลมแบนมีขน เมล็ดเท่าเมล็ดถั่วเหลือง ฝักและเมล็ด เหมือนถั่วเหลือง |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ผล รับประทานเป็นผักจิ้มน้ำพริก(ปะหล่อง,ขมุ)
ฝักแก่ รับประทานได้(ไทลื้อ)
ผลและเมล็ด ต้มกินกับน้ำพริก(กะเหรี่ยงเชียงใหม่)
- ยอดอ่อนและดอก ถือว่าเป็นพืชที่ศักดิ์สิทธิ์ ใช้ปะพรมน้ำมนต์หรือใช้ในพิธีปลูกเสาเอกของบ้าน(ปะหล่อง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
http://www.thaibiodiversity.org/Life/LifeDetail.aspx?LifeID=39330 |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|