|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
เขียงผ่าช้าง, เกี๋ยงพร้า, เกี๋ยงพาช้าง
|
เขียงผ่าช้าง, เกี๋ยงพร้า, เกี๋ยงพาช้าง
Blumea lanceolaria (Roxb.) Druce |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Compositae (Asteraceae) |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Blumea lanceolaria (Roxb.) Druce |
|
|
ชื่อไทย |
เขียงผ่าช้าง, เกี๋ยงพร้า, เกี๋ยงพาช้าง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
โหระพาช้าง(ไทลื้อ), ปิ้งเดี่ยวมา(เมี่ยน) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
เป็นไม้พุ่ม ทุกส่วนมีกลิ่นหอม |
|
|
ใบ |
ใบเดี่ยว คล้ายโหระพา ต่างกันที่กลิ่น ขนาดใบใหญ่กว่า เรียงตรงข้าม รูปไข่หรือรูปรี |
|
|
ดอก |
ดอกช่อ กลีบดอกสีขาวแกมเหลือง ใบประดับปากบนสีเขียวแกมม่วง |
|
|
ผล |
ผลเป็นผลแห้ง มี 4 ผลย่อย |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ยอดอ่อน รับประทานสดกับลาบ(ไทลื้อ)
ใบสด รับประทานกับลาบ(เมี่ยน) รักษาแผลในปาก ช่วยย่อย ขับปัสสาวะ แก้ปวด แก้ปวดท้อง อาเจียน เมล็ด แก้ปวดศีรษะ ปวดปลายประสาท และเป็นยาระบาย
- ลำต้น นำไปต้มน้ำแล้วนำน้ำที่ได้มาผสมกับน้ำต้มต้นเจตมูลเพลิง ขาวหรือเจตมูลเพลิงแดง แล้วผสมแป้งทำแป้งเหล้า(เมี่ยน)
|
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
พบกระจายทั่วไป เจริญเติบโตได้ดี |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|