|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ขิงดา , ขิงป่า
|
ขิงดา , ขิงป่า
Zingiber kerrii Craib |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Zingiberaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Zingiber kerrii Craib |
|
|
ชื่อไทย |
ขิงดา , ขิงป่า |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ขิงดา(คนเมือง), ละวิวาย(ขมุ), ขิงป่า(เมี่ยน) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ขิงดาเป็นพืชล้มลุกขนาดใหญ่ ตระกูลขิง-ข่า สูง 1.5-2 เมตร มีเหง้าใต้ดิน ลำต้นแข็งออกมาจากไต้ดิน มีสีเขียว มีกาบใบ |
|
|
ใบ |
ใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปขอบขนาน ขนาดใบกว้าง 2-3 ซม. ยาว 25-30 ซม. ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเป็นคลื่น โคนใบมน ผิวเรียบมัน มีสีเขียวเข้ม หลังใบสีอ่อนกว่าท้องใบ มีหูใบลักษณะเป็นเยื่อบางๆ 2 ข้าง |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ใบ ใช้ใส่แกงหน่อไม้เพื่อเพิ่มกลิ่นหอม(เมี่ยน,ขมุ)
- เหง้า ต้มน้ำดื่มช่วยขับลมในลำไส้ แก้อาการท้องเสีย(คนเมือง) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|