|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
Black plum
|
Black plum
Syzygium cumini (L.) Skeels |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Myrtaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Syzygium cumini (L.) Skeels |
|
|
ชื่อไทย |
หว้า |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ดั้งด้งเดี๋ยง(เมี่ยน), เก่อมี, ตะโข่(กะเหรี่ยงเชียงใหม่), ตะมาเหมาะ(กะเหรี่ยงแดง), บะห้าขี้แป๊ะ(คนเมือง), เส่มีซู(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), เบล่กะโม้ย(ปะหล่อง), สือหลื่อกั้ง(ม้ง) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ไม้ต้นสูง 10-35 ม. |
|
|
ใบ |
ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปไข่หรือรูปรี กว้าง 3-7 ซม. ยาว 8-14 ซม. เส้นขอบใบปิด เส้นใบ 19-30 คู่ ก้านใบยาว 0.6-3 ซม. |
|
|
ดอก |
ดอกสีขาวหรือสีเหลืองอ่อนออกเป็นช่อที่ซอกใบหรือปลายยอด แกนช่อยาว 4.5-10 ซม. ฐานรองดอกรูปกรวย ขนาด 0.2-0.5 ซม. กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รูปกลมมน เกสรผู้จำนวนมาก |
|
|
ผล |
ผลเป็นผลสด รูปรีแกมรูปไข่ ฉ่ำน้ำ สีม่วงดำ ผิวมัน ขนาดประมาณ 1 ซม. |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
"- ผล รับประทานได้(กะเหรี่ยงเชียงใหม่,กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน,เมี่ยน,กะเหรี่ยงแดง,คนเมือง,ปะหล่อง,ม้ง)
- เปลือกต้น ใช้ย้อมผ้า ให้สีชมพูอ่อน(ปะหล่อง)
- ยอดอ่อน ใช้ประกอบพิธีเลี้ยงผี (ปะหล่อง)
ยอดอ่อน ใช้ไปวัดทำบุญ(กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน)"
|
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
ศูนย์ข้อมูลพืช สำนักวิชาการ-วิจัย องค์การสวนพฤกษศาสตร์ http://www.qsbg.org/database/botanic_book%20full%20option/search_detail.asp?Botanic_ID=1136 |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|