|
วงศ์ |
Leguminosae (LEGUMINOSEA-MIMOSOIDEAE) |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Archidendron clypearia (Jack) I.C.Nielsen |
|
|
ชื่อไทย |
มะขามแป |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
กาสะท้อน ไคร้ยอง แดงเลื่อม เบงเหลื่อม มะขามแป เล็บมืน |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
เบงเหลื่อมเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ใบ กิ่งและช่อดอก มีขนสั้นๆ กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น เวียนสลับ ใบแก่ด้านล่างมีขนสีน้ำตาล ใบย่อยรูปขอบขนาน เรียงตรงข้าม ดอกเป็นช่อขนาดใหญ่ออกตามปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว ฝักบิดโค้งม้วนเป็นเกลียว สีส้มอมแดง เมล็ดกลมรีสีดำเป็นมันห้อยติดอยู่ |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
นำใบมา ต้มน้ำดื่มบำรุงร่างกายและบำรุงเลือด |
|
|
อ้างอิง |
เกรียงไกรและคณะ. 2551. พืชอาหารและสมุนไพรท้องถิ่นบนพื้นที่สูง ชุดที่ 1 บ้านปางมะโอ. สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน). 190 หน้า |
|
|
สภาพนิเวศ |
พบทั่วไปในป่าทุกชนิดทางภาคเหนือ จนถึงระดับความสูง 1,700 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล |
|
|
เอกสารประกอบ |
|