|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
-
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
BIGNONIACEAE |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Markhamia pierrei Dop |
|
|
ชื่อไทย |
แคหางค่าง |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
แคฝอย |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 10-20 เมตร ลำต้นตรงแตกกิ่งต่ำ เปลือกสีน้ำตาลอมเทา ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ ออกเรียงตรงข้าม ใบย่อยรูปรี ปลายเรียวแหลม โคนสอบและเบี้ยว ขอบใบหยักตื้นๆ ผิวเรียบ ช่อดอกสั้น ออกตามปลายกิ่ง ประมาณ 3-7 ดอก ดอกย่อยขนาดใหญ่สีขาวรูปแตร ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ขอบกลีบย่นเป็นริ้ว ผลเป็นฝักชนิดเปลือกแข็ง 2 ชั้น รูปขอบขนาน บิดไปมา เมล็ดแบนมีเยื่อบางๆ ติดหัวท้ายคล้ายปีก |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
เป็นพืชอาหารและสมุนไพร นำดอกมาต้ม ลวก หรือนึ่งกินกับน้ำพริก ใช้เนื้อไม้ต้มน้ำดื่มแก้บวม แก้พยาธิ แก้ท้องร่วง แก้ริดสีดวง แก้ตกเลือด ฝนกับหินฝนยาใส่น้ำสะอาดดื่มเป็นยาอยู่ไฟ แก้เจ็บหัว เมาหัว และเข้าตำรับยาบำรุงและเร่งน้ำนม |
|
|
อ้างอิง |
อัปสร และคณะ. 2553. พืชอาหารและสมุนไพรท้องถิ่นบนพื้นที่สูง. สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน). 396 หน้า. |
|
|
สภาพนิเวศ |
พบทั่วไปในป่าเบญจพรรณ ป่าดิบเขา ชอบขึ้นตามริมลำธาร |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|