|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
-
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Phyllanthaceae (Euphorbiaceae) |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Antidesma acidum Retz. |
|
|
ชื่อไทย |
เม่า, เม่าสร้อย |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ส่อแพรเหมาะ(กะเหรี่ยงแดง), มะเม่า(ไทลื้อ), ปิมปอง(ขมุ) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
เป็นไม้พุ่มลำต้นตั้งตรง หรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก สูง 2-5 เมตร ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนาน มีขนทั้งสองด้าน ปลายและโคนใบแหลม ขอบใบเรียบ กว้าง 2-5 ซม. ยาว 5-10 ซม. ช่อดอกแยกแขนงเชิงลด ออกที่ซอกใบและปลายกิ่ง แยกเพศอยู่คนละต้น ไม่มีกลีบดอก ผลกลุ่มออกเป็นช่อยาว รูปทรงกระบอก ผลย่อยรูปทรงกลม เนื้อผลฉ่ำน้ำ ผลดิบสีเขียว ผลสุกเปลี่ยนเป็นสีแดงและดำเมื่อแก่จัด |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ผลสุก รับประทานได้(กะเหรี่ยงแดง)
ยอดอ่อน นำไปประกอบอาหาร เช่น แกงเห็ดถอบ, ผลสุก รับประทานได้(ไทลื้อ)
ใบ ใช้เป็นส่วนประกอบในแกงเห็ดเผาผลสุก รับประทานได้(ขมุ) |
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
อัปสรและคณะ. 2553. พืชอาหารและสมุนไพรท้องถิ่นบนพื้นที่สูง บ้านโป่งคำ. สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน). 396 หน้า |
|
|
สภาพนิเวศ |
พบกระจายพันธุ์ตามธรรมชาติในป่าผลัดใบและป่าดิบทั่วไป เป็นไม้ระดับกลาง ชอบแสงแดดปานกลาง |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|