|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
เสม็ด
|
เสม็ด
Melaleuca Cajuputi, Melaleuca leucadendra Linn. var. minor Duthie sp. |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
MYRTACEAE |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Melaleuca Cajuputi, Melaleuca leucadendra Linn. var. minor Duthie sp. |
|
|
ชื่อไทย |
เสม็ด |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
เสม็ด |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
เป็นไม้ต้น สูง 5-25 เมตร เรือนยอดแคบ ลำต้นมักบิด เปลือกสีขาวนวลเป็นแผ่น บางๆ เรียงซ้อนกันเป็นปึกหนานุ่ม เปลือกชั้นในบางสีน้ำตาล ยอดอ่อนกิ่งอ่อน และใบอ่อน มีขนสีขาวเป็นมัน |
|
|
ใบ |
แผ่นใบ รูปหอก กว้าง 1.5-4 ซม. ยาว 5-10 ซม. ปลายใบ และโคนใบแหลมมีเส้นแยกออกจากโคนใบ 5-7 เส้นขนานกันและไปจรดกันที่ปลายใบ |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- ไม้ ใช้ทำเสา เสารั้ว และใช้เผาถ่านได้ดี
- เปลือก ใช้มุงหลังคา กั้นฝาขนำ และใช้คลุกกับชัน(ยาง)พะยอม ทำไต้
- ดอกและยอดอ่อน มีรสเผ็ด.ใช้เป็นผักจิ้มน้ำพริกได้
- น้ำมันที่สกัดจากใบ ใช้เป็นยาดมรักษาโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ,ใช้ทาภายนอกแล ะรักษาโรคปวดข้อรูมาติสซัม
|
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ. |
|
|
สภาพนิเวศ |
เป็นพันธุ์ไม้ที่พบได้ทั่วไปในพื้นที่ป่าพรุที่มีน้ำท่วมในหน้าฝน และในหน้าแล้งมีไฟไหม้ป่าอยู่เป็นประจำ ซึ่งพันธุ์ไม้ชนิดอื่นๆ จะไม่สามารถปรับตัวได้คงเหลือแต่เสม็ดที่ขึ้นเป็นกลุ่ม เรียกกันว่า " ป่าเสม็ด |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|