|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ฮว่านง๊อก
|
ฮว่านง๊อก
Pseuderanthemum palatiferum (Nees) Radlk |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Acanthacea |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Pseuderanthemum palatiferum (Nees) Radlk |
|
|
ชื่อไทย |
ฮว่านง๊อก |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ฮว่านง๊อก |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ฮวานง็อกเป็นไม้พุ่มเตี้ยสูงไม่เกิน 3 เมตร เป็นพันธุ์ไม้ใบ |
|
|
ใบ |
ใบอ่อนมีสีเขียว ปลายใบแหลม ออกตามโคนง่ามใบด้านบนของใบมีสีเขียวเป็นมันเงา ส่วนล่างของใบจะหยาบ มีใบมาก เมื่อเด็ดยอดอ่อน จะแตกกิ่งสาขาตามโคนก้านใบเป็นทรงพุ่ม แตกกิ่งก้านสาขามาก |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
- รักษาคนสูงอายุ ปวดเมื่อยตามร่างกาย ทำงานหนัก เกิดประสาทหลอน
- รักษาเป็นไข้หวัด ความดันโลหิตสูง ท้องไส้ไม่ปกติ
- รักษาอาการมีบาดแผล เคล็ด ขัดยอก กระดูกหัก
- รักษาอาการทางเดินอาหารไม่ปกติ
- รักษาอาการโรคกระเพาะอาหาร โรคเลือดออกในลำไส้ เกี่ยวกับกระเพาะปัสสาวะ- รักษาอาการคอพอก ตับอักเสบ
- รักษาอาการไตอักเสบ ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะขุ่นข้น
- รักษาอาการโรคมะเร็งปอดมีอาการปวดต่างๆ โดยไม่ทราบสาเหตุ ให้รับประทานต่อไป 100-200 ใบ อาการจะหายขาด
- รักษาโรคตาทุกชนิด เช่น ตาแดง ตาต้อ ตาห้อเลือด
- รักษาอาการมดลูกหย่อนของหญิงคลอดบุตรใหม่ได้ผลดี ช่วยให้มดลูกเข้าอู่
- รักษาโรคความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตต่ำ โรคประสาทอ่อนๆ (เพื่อเป็นการสนับสนุน
เหตุผลโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งผู้เขียนก็เป็น จึงกินเข้าไปครั้งละ 5 ใบ เช้า-เย็น 1 วัน
อาการ หน้ามืดหนักหัวหายไป รู้สึกสบาย เบาสมอง)
- สามารถใช้กับสัตว์ได้ จากเอกสารระบุว่าใช้กับไก่ชนหลังจากชนไก่แล้ว ต้องการให้ไก่ฟื้นจากอาการบาดเจ็บ ให้ไก่กินใบของต้นสมุนไพรฮว่านง็อก จะฟื้นตัวได้เร็ว
|
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ. |
|
|
สภาพนิเวศ |
- |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|