|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
ผักขมหัด
|
ผักขมหัด
Amaranthus gracilis Desf |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
AMARANTHACEAE |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Amaranthus gracilis Desf |
|
|
ชื่อไทย |
ผักขมหัด |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
ผักโขมหัด (กลาง), ผักหม (ใต้), กะเหม่อลอมี, แม่ล้อคู่ (กระเหรี่ยง,แม่ฮ่องสอน) ,ปะตี(เขมร) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
ไม้ล้มลุกฤดูเดียว ลำต้นตรง สูง 10-35 ซม. แตกกิ่งก้านน้อยใกล้โคนต้น มีขนหนาแน่น |
|
|
ใบ |
ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปขอบขนานแกมใบหอก รูปไข่กลับแกมวงรีกว้าง 0.3-1 ซม.ยาว 1-3 ซม. ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบเรียวปลายสอบเข้าหาก้านใบ ขอบใบจักโค้งมนหรือกึ่งฟันเลื่อย ท้องใบเกลี้ยง |
|
|
ดอก |
ดอกช่อกระจะออกที่ซอกใบ และปลายยอด ดอกย่อย 2-10 ดอก มีขนหนาแน่น ใบประดับรูปหอกแคบ กลีบดอกสีม่วง เชื่อมติดกันเป็นหลอดปลายแยกเป็น 2 ปาก ปากบนแยกเป็น 2 พูรูปโล่ ปากล่างแยกเป็น 3 พู |
|
|
ผล |
เป็นฝักแห้ง แตกได้ รูปกระสวย |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
ราก แก้ไข้ ขับเสมหะ ขับน้ำนม ขับปัสสาวะ มักจะใช้เป็นยาสมุนไพร่วมกับผักขมหิน
ใบ แก้ไข้ ขับเสมหะ ขับน้ำนม เป็นยาพอกแผลที่ขา
|
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
นันทวัน บุญยะประภัศร , 2541. สมุนไพร..ไม้พื้นบ้าน (3). บริษัทประชาชน จำกัด, กรุงเทพฯ .
|
|
|
สภาพนิเวศ |
ขึ้นตามที่ชุ่มชื้น |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|