|
|
|
|
พืชตามกลุ่มการใช้ประโยชน์
|
|
|
|
eherb ผลการค้นหา
-
|
-
Ziziphus oenoplia (L.) Mill. var. oenoplia |
|
|
|
|
|
|
|
รายละเอียดทางพฤษศาสตร์ |
|
|
วงศ์ |
Rhamnaceae |
|
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Ziziphus oenoplia (L.) Mill. var. oenoplia |
|
|
ชื่อไทย |
เล็บเหยี่ยว |
|
|
ชื่อท้องถิ่น |
มะตันขอ(คนเมือง) |
|
|
ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์ |
เป็นไม้เถาเนื้อแข็ง เถาและกิ่งมีหนามแหลมงอทั่วทั้งต้น เปลือกเถาสีดำเทา เปลือกในสีแดง ใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปทรงกลมรีเล็กน้อย ขนาดใบกว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 3-4 ซม. ขอบใบเรียบ ท้องใบมีขนนุ่มสั้น หลังใบสีเขียวเข้ม คล้ายใบพุทรา ดอกเป็นช่อกระจุกเล็กๆ ออกตามซอกใบ ดอกย่อยสีเขียวอ่อน กลีบใบแผ่ออกรูปจาน ผลเดี่ยว รูปทรงกลม ผลดิบจะมีสีเขียว ผลสุกสีดำ เนื้อผลน้อยแต่นิ่ม มี 1 เมล็ด |
|
|
ใบ |
- |
|
|
ดอก |
- |
|
|
ผล |
- |
|
|
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ |
"- ผลสุก รับประทานได้(เมี่ยน,คนเมือง)
ลำต้น ตากแห้งผสมกับ เปลือกลำต้นนางพญาเสือโคร่ง ลำ ต้นฮ่อสะพายควาย ม้ากระทืบโรง จะค่าน ตานเหลือง ข้าว หลามดง หัวยาข้าวเย็น แก่นฝาง ไม้มะดูก และโด่ไม่รู้ล้ม ต้มน้ำดื่มเป็นยาบำรุงกำลัง แก้ปวดเมื่อย หรือต้มน้ำดื่ม ร่วมกับปูเลยและข้าวหลามดง ช่วยให้มีกำลังหลังจากฟื้นไข้(คนเมือง
|
|
|
อ้างอิง |
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สำนักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ.
|
|
|
สภาพนิเวศ |
พบในป่าทั่วไป ชอบแสงแดดจัด ขึ้นได้ดีในดินร่วน ระบายน้ำดี |
|
|
เอกสารประกอบ |
|
|
|
ภาพนิ่ง |
|
|
|
|
|
|
|
|